W9 Family Planning Package
DNA Family โปรแกรมตรวจหาโรคที่ถ่ายทอดมาทางพันธุกรรม เหมาะสำหรับผู้ที่เป็นโรค หรือมีประวัติคนในครอบครัว โรคทางพันธุกรรมหลายโรคมักเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ เพราะเกิดจากความผิดปกติของยีนในร่างกาย ดังนั้นการป้องกันที่ดีที่สุด คือ การตรวจสุขภาพก่อนแต่งงานเพื่อให้ทราบว่าตนเองมียีนแฝง หรือเป็นพาหะนำโรคหรือไม่ เพื่อวางแผนครอบครัวที่มีประสิทธิภาพ และลดความเสี่ยงของการเกิดโรคของลูกน้อยในอนาคตได้ จำนวน 60+ รายการ
เราสามารถหลีกเลี่ยงโอกาสที่จะเกิด “ยีนความเสี่ยง” ที่ถูกถ่ายทอดมาทางพันธุกรรมได้
ถึงเราจะมียีนไม่ดี แต่ถ้าเรา “ทำตัวดี” เราก็สามารถลิขิตชะตาของตัวเองได้
ทำไมการตรวจสุขภาพทั่วไปถึงแตกต่างจากการตรวจด้วยดีเอ็นเอ

ปกติแล้วการตรวจสุขภาพทั่วไปปีละครั้งนั้นก็ดีอยู่แล้ว แต่จะดีกว่าไหมถ้าเราสามารถรู้ข้อมูลสุขภาพแบบเชิงลึกมากยิ่งขึ้น ที่ไม่ใช่แค่การตรวจแค่ว่าร่างกายของเราปกติหรือไม่ปกติ ซึ่งหากตรวจพบว่าร่างกายมีบางอย่าผิดปกตินั่นก็แปลว่าเรากำลังเผชิญกับโรคอะไรบ้างอย่างเข้าแล้ว และบางทีก็อาจจะสายเกินไป แต่การตรวจด้วย DNA จะสามารถทำนายสุขภาพล่วงหน้าของเราได้ ช่วยให้เราวางแผนป้องกันหรือแก้ไขได้ทัน ไม่ก่อให้เกิดโรคดังกล่าวได้ในอนาคต
DNA Family Planning บอกอะไรเราได้บ้าง
- โรคมะเร็งที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
- โรคหัวใจที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
- การวางแผนครอบครัว
- บอกรายละเอียดพันธุกรรมเสี่ยงโรคร้ายระดับยีน
Family Planning Package เหมาะกับใครบ้าง
บุคคลทั่วไป ทุกเพศ ทุกวัย
ผู้ที่ต้องการดูแลสุขภาพเชิงป้องกัน
ผู้ป่วย หรือมีประวัติคนในครอบครัว เป็นโรคทางกรรมพันธุ์
การตรวจดีเอ็นเอ เป็นการตรวจเพื่อหาข้อพิสูจน์ หรือหาความผิดปกติของร่างกาย ผ่านการใช้สารดีเอ็นเอจากเลือด เซลล์เยื่อบุกระพุ้งแก้ม หรือเนื้อเยื่อจากร่างกาย ช่วยบ่งบอกถึงระบบการทำงานต่างๆ ของร่างกาย เช่น รู้ความเสี่ยงของการเกิดโรคร้ายในอนาคต เช่น โรคพาร์กินสัน โรคอัลไซเมอร์ โรคเบาหวานประเภทที่ 2 โรคความดันโลหิต รู้ความเสี่ยงโรคที่ส่งต่อทางพันธุกรรม เพื่อวานผนการมีบุตร
4 ขั้นตอนง่ายๆ ทำนายอนาคตด้วย DNA
- งดน้ำและอาหาร ก่อนทำการตรวจ อย่างน้อย 30 นาที
- เก็บตัวอย่าง DNA จากน้ำลาย
- ตอบแบบสอบถามด้านพฤติกรรมและสุขภาพ
- รับผลตรวจของคุณ
แผนการตรวจเล่ม Family Planning Package
ตรวจความเสี่ยงโรคมะเร็ง (Hereditary Cancer) 12 รายการ
- มะเร็งเต้านม (Breast cancer)
- มะเร็งรังไข่ (Ovarian cancer)
- มะเร็งลําไส้ (Colorectal cancer)
- มะเร็งกระเพาะอาหาร (Gastric cancer)
- มะเร็งระบบประสาทและสมอง (Nervous system/brain cancer)
- มะเร็งตับอ่อน (Pancreatic cancer)
- มะเร็งทางเดินปัสสาวะ (Renal/urinary tract cancer)
- มะเร็งผิวหนัง (Melanoma)
- มะเร็งต่อมไทรอยด์ (Thyroid cancer)
- มะเร็งเนื้อเยื่อชนิด Sarcoma
- มะเร็งเม็ดเลือด (Hematologic cancer)
- มะเร็งต่อมลูกหมาก (Prostate cancer)
ตรวจความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด ชนิดที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม Hereditary Heart Disease 4 รายการ
- กลุ่มโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ (Arrhythmia)
- กลุ่มโรคหลอดเลือดแดงผิดปกติ (Arteriopathies)
- กลุ่มโรคกล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ (Cardiomyopathy)
- ภาวะโคเลสเตอรอลในเลือดสูงที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ (Familial Hypercholesterolemia)
ตรวจความเสี่ยงโรคเพื่อการวางแผนครอบครัว (Family planning) 41 รายการ
- Alpha-thalassemia
- Beta-thalassemia
- Bloom syndrome
- Canavan disease
- Citrullinemia type 1
- Congenital disorder of glycosylation (PMM2-related)
- Cystic fibrosis and other CFTR-related disorders
- Dihydrolipoamide dehydrogenase deficiency (DLD)
- DMD-related dystrophinopathy*
- Familial dysautonomia Familial hyperinsulinism
- Fanconi anemia type C
- FKTN-related disorders (including Walker-Warburg syndrome)
- Fragile X syndrome*
- Galactosemia (GALT-related) Gaucher disease
- GJB2-related DFNB1 nonsyndromic hearing loss and deafness
- Glucose-6-phosphate dehydrogenase (G6PD) deficiency*
- Glycogen storage disease type la
- Glycogen storage disease type II (Pompe disease)
- HBB-related hemoglobinopathies (including sickle cell disease)
- Krabbe disease
- Maple syrup urine disease (MSUD) type 1A
- Maple syrup urine disease (MSUD) type 1B
- Medium chain acyl-CoA dehydrogenase (MCAD) deficiency
- Mucolipidosis type IV
- Mucopolysaccharidosis type I (including Hurler, Hurler-Scheie, and Scheie syndromes)
- Nemaline myopathy 2
- Neuronal ceroid-lipofuscinosis (CLN3-related)
- Niemann-Pick disease type A/B
- Pendred syndrome Phenylalanine hydroxylase deficiency (including phenylketonuria (PKU))
- Polycystic kidney disease (PKHD1-related)
- Rhizomelic chondrodysplasia punctata type 1/
- Refsum disease (PEX7-related)
- Smith-Lemli-Opitz syndrome
- Spinal muscular atrophy
- Tay-Sachs disease/hexosaminidase A deficiency
- TMEM216-related disorders (including Joubert syndrome 2 and Meckel syndrome 2)
- Tyrosinemia type I
- Usher syndrome type IF/PCDH15-related disorders
- Usher syndrome type IIA/USH2A-related disorders
- Usher syndrome type IIIA
- Zellweger spectrum disorder (PEX1-related)