搜索
关闭此搜索框。
อัลไซเมอร์

โรคอัลไซเมอร์ รู้ทัน ป้องกันก่อน แนะดูแลสุขภาพสมองควบคู่สุขภาพกายใจลดความเสี่ยงได้

“ไม่อยากเป็นอัลไซเมอร์” เป็นประโยคที่ทุกคนมักกล่าวกับเพื่อน ๆ และคนในครอบครัว แต่ในความเป็นจริงแล้วไม่มีใครเลือกอาการเจ็บป่วยของร่างกายได้ ขณะที่ โรคอัลไซเมอร์ เป็นสาเหตุหนึ่งของภาวะสมองเสื่อม ซึ่งพบได้บ่อยที่สุดในกลุ่มผู้สูงอายุและกำลังปัญหาที่เพิ่มมากขึ้นในประเทศไทย จากจำนวนประชากรผู้สูงอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปมีจำนวนมากกว่า 20% ของประชากรประเทศทั้งหมดตั้งแต่ปี 2565 รายงานจากกรมการแพทย์ในปี 2563 ประมาณการผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมจะมีจำนวนถึง 651,950 คน จากผู้สูงอายุ 12 ล้านคน หรือคิดเป็น 5.43% ของผู้สูงอายุทั้งหมด

ในปี 2565 สถิติผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคภาวะสมองเสื่อมมีจำนวน 770,000 คน หรือประมาณ 6% ของจำนวนผู้สูงอายุรวมทั้งประเทศ โดยจากสถิติพบว่าผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมมีจำนวนสูงขึ้นในทุก ๆ ปี เฉลี่ยปีละหนึ่งแสนราย ซึ่งเป็นแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นตามจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นในทุกปี

皮查克·旺威斯特博士 แพทย์ผู้อำนวยการ W9 Wellness Center กล่าวว่า ปัจจุบัน W9 พบผู้มีความกังวลเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ ซึ่งสามารถแบ่งได้ 3 กลุ่ม คือ

  1. กลุ่มที่มีผู้สูงอายุในครอบครัวเป็นโรคอัลไซเมอร์
  2. กลุ่มที่เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุและเริ่มกังวลเกี่ยวกับแนวโน้มการเป็นโรคอัลไซเมอร์ของผู้สูงอายุ และ
  3. กลุ่มคนที่อายุ 40 ปีขึ้นไปที่มีความกังวลหรือต้องการทราบความเสี่ยงในการเกิดโรคอัลไซเมอร์ของตนเอง

แต่ละกลุ่มจะมีต้องการและความกังวลที่แตกต่างกัน กล่าวคือ กลุ่มแรกที่มีผู้สูงอายุในครอบครัวเป็นโรคอัลไซเมอร์ มักมี 2 ประเด็นที่ต้องการทราบ คือ ต้องการรู้ระยะของโรคเพื่อการดูแลผู้ป่วยอัลไซเมอร์ได้ถูกต้องเหมาะสม และต้องการทราบว่าตนเองมีโอกาสหรือมีแนวโน้มที่จะเป็นโรคอัลไซเมอร์เช่นเดียวกับคุณพ่อหรือคุณแม่ที่ป่วยเป็นโรคดังกล่าวหรือไม่ เพื่อหาแนวทางการดูแลสุขภาพกายใจองค์รวมเชิงป้องกันก่อนเกิดโรค

สำหรับกลุ่มที่เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุและเริ่มกังวลเกี่ยวกับแนวโน้มการเป็น โรคอัลไซเมอร์ ของผู้สูงอายุ พบปัญหาเหมือนกันแทบทุกครอบครัว คือ ผู้สูงอายุเริ่มมีอาการแต่ปฏิเสธการมาหาแพทย์ที่โรงพยาบาลเพื่อรับการตรวจวินิจฉัยเบื้องต้นเกี่ยวกับแนวโน้มของการเป็นโรคอัลไซเมอร์ และมาหาแพทย์เมื่อมีอาการเกินกว่าระยะแรก (Early-stage) ของโรคไปแล้ว ส่งผลให้การดูแลรักษาผู้ป่วยค่อยข้างยากกว่าในระยะแรก

โรคอัลไซเมอร์

ส่วนกลุ่มคนที่อายุ 40 ปีขึ้นไปที่มีความกังวลหรือต้องการทราบความเสี่ยงในการเกิดโรคอัลไซเมอร์ของตนเอง ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มคนที่ให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพ และมีการตรวจเช็คสุขภาพเป็นประจำ แต่หลังจากเทรนด์ของการเป็นโรคอัลไซเมอร์เพิ่มสูงขึ้น จึงทำให้กลุ่มคนดังกล่าวเริ่มมองหาแนวทางการตรวจเช็คความเสี่ยงและดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคเชิงเวลเนสมากขึ้น

นายแพทย์พิจักษณ์ กล่าวว่า นวัตกรรมทางการแพทย์ในปัจจุบันสามารถตรวจพันธุกรรมเพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงการเป็นโรคอัลไซเมอร์เชิงลึกระดับ DNA ได้จากการตรวจเลือดและปัสสาวะ โดยการตรวจหาปัจจัยเสี่ยงที่อาจนำไปสู่โรคอัลไซเมอร์ เช่น การขาดวิตามินบางประเภท ความผิดปกติของยีน หรือระดับโลหะหนักในร่างกายที่สูงเกินไป ควบคู่กับการประเมินสุขภาพโดยรวมเพื่อระบุปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อสมอง

เมื่อทราบถึงปัจจัยเสี่ยงและสุขภาพโดยรวมแล้ว แพทย์จะสามารถวางแผนการดูแลรักษาหรือป้องกันโรคอัลไซเมอร์ที่เหมาะสมแบบเฉพาะรายบุคคล ช่วยลดความเสี่ยงที่จะเกิดโรคได้ ทั้งนี้ การตรวจวิเคราะห์ความเสี่ยงเป็นโรคอัลไซเมอร์เหมาะกับทั้งผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปทั้งที่ยังมีความจำดีและผู้ที่เริ่มต้นมีปัญหาหลงลืม ผู้ที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไปที่มีความกังวลหรือต้องการรู้ความเสี่ยงการเป็นโรคอัลไซเมอร์ ผู้ที่มีสมาชิกในครอบครัวสายตรงเป็นโรคอัลไซเมอร์ รวมถึงผู้ที่มีปัญหาหลงลืมที่รบกวนชีวิตประจำวัน

สำหรับการวิเคราะห์ความเสี่ยงการเป็นโรคอัลไซเมอร์ ควรเลือกการตรวจวิเคราะห์ที่ครอบคลุมการ 检查全血细胞计数 เป็นการตรวจสอบว่ามีการติดเชื้อหรือภาวะโลหิตจางที่อาจส่งผลต่อสุขภาพสมอง 阿尔茨海默病基因检测 ด้วยการตรวจยีน ApoE ช่วยประเมินความเสี่ยงในการเกิดโรคอัลไซเมอร์ซึ่งยีนชนิดนี้มีความเชื่อมโยงกับการสะสมของโปรตีนเบต้าอะไมลอยด์ในสมองที่เป็นลักษณะเด่นของโรค 检查叶酸合成基因的风险。 ช่วยระบุความเสี่ยงการขาดโฟเลต เนื่องจากยีน MTHFR มีบทบาทสำคัญในการสังเคราะห์โฟเลตซึ่งเป็นวิตามินบีที่จำเป็นสำหรับสุขภาพระบบสมอง

โรคอัลไซเมอร์

ตรวจระดับโฮโมซีสเตอีน ที่เป็นกรดอะมิโนชนิดหนึ่ง หากระดับสูงเกินไปอาจเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองและโรคหัวใจซึ่งส่งผลกับสุขภาพสมองเช่นกัน ตรวจฮอร์โมนต่อมหมวกไต เป็นการประเมินสุขภาพของสมองเพราะฮอร์โมน DHEA ช่วยควบคุมการทำงานของระบบประสาท นอกจากนี้ ควรมีการ检查维生素 D 水平 红细胞中的叶酸水平 เช็คระดับโลหะหนักในร่างกาย ทั้งทองแดง สังกะสี และอลูมิเนียม รวมทั้งระดับวิตามิน B12 ที่ล้วนมีส่วนสำคัญต่อสมองทั้งสิ้น ที่สำคัญคือปรึกษาและวางแผนการดูแลสุขภาพแบบเฉพาะบุคคลกับแพทย์ที่มีประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพเชิงป้องกันแบบองค์รวม เพื่อการรักษาและป้องกันที่ตรงจุด

服务网点

  • Praram 9 医院分院
    • 电话号码:092-9936922
    • 线: @w9wellness
    • 开放至关闭时间:08:00 – 17:00
  • 奔集中心分行
    • 电话号码:099-4969626
    • 线: @wploenchit
    • 开放至关闭时间:上午 10:00 至晚上 7:00

分享 : 

相关文章

年纪越大,便秘就越严重。便秘可能发生在任何年龄。但在老年人中更为常见和多见。在泰国,发现老年人出现便秘。

我们不能否认这一点“发型影响容貌”,还可以帮助面部看起来年轻健康。但是当头中间出现头发稀疏的问题时或者你的头发太稀疏,让你缺乏自信。

如今,医生看到越来越多的年轻患者承受着压力。医生发现,大多数孩子之所以感到压力,是因为。

error: Content is protected !!