يبحث
أغلق مربع البحث هذا.
พันธุกรรมมะเร็ง

وراثة السرطان وراثة وراثية لا يريدها أحد.

มะเร็งบางชนิดมีการถ่ายทอดทางพันธุกรรม โดยปกติแล้วทุกคนมียีนก่อมะเร็งที่ติดตัวมาตั้งแต่กำเนิดเป็นพื้นฐานอยู่แล้ว แต่ไม่ได้ทำให้เป็นมะเร็ง ขึ้นอยู่ที่ว่ายีนนั้นจะกลายพันธุ์จนก่อให้เกิดมะเร็งหรือไม่ ปัจจุบันการตรวจยีนหรือ พันธุกรรมมะเร็ง เพื่อค้นหาความเสี่ยงช่วยให้ทราบถึงสุขภาพส่วนบุคคลในระดับเชิงลึก นำไปวางแผนการใช้ชีวิต การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รวมถึงการเฝ้าระวังก่อนการเกิดโรค หรือแม้กระทั่งป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำในกลุ่มผู้ป่วยมะเร็ง

โรคที่มีโอกาสถ่ายทอดทาง พันธุกรรมมะเร็ง

จากข้อมูลในปัจจุบัน โรคมะเร็งเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของคนไทย หลายคนเคยได้ยินชื่อโรคมะเร็งกันมาบ้างแล้ว แต่ก็มีอีกหลายคนที่ยังไม่ทราบว่ามะเร็ง 5-10 % ถูกพบได้บ่อยจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรม แม้เปอร์เซ็นการเกิดมะเร็งจากพันธุกรรมจะไม่สูงมากนัก แต่ก็ไม่ควรละเลยปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้

พันธุกรรมมะเร็ง
  • มะเร็งเต้านม ปัจจัยเสี่ยงเกิดได้จากมีสมาชิกในครอบครัวเป็นมะเร็งเต้านม มีภาวะโรคอ้วน ดื่มแอลกอฮอล์มาก
  • มะเร็งรังไข่ สาเหตุเกิดจากพันธุกรรม สุภาพสตรีที่ไม่มีบุตรหรือมีบุตรยาก ปัจจัยที่เพิ่มความเสี่ยงได้แก่สภาพแวดล้อม สารเคมี สารปนเปื้อนในอาหาร
  • มะเร็งปอด ปัจจัยเสี่ยงหลักเกิดจากการสูบหรือรับควันบุหรี่ทั้งทางตรงและทางอ้อมที่มากเกินไป พันธุกรรม สัมผัสสารก่อมะเร็งจากการทำงานและสิ่งแวดล้อม
  • มะเร็งลำไส้ใหญ่ เกิดจากหลายปัจจัยเสี่ยงร่วมกัน พันธุกรรม ภาวะอ้วนน้ำหนักเกิน สิ่งแวดล้อมและการรับประทานอาหาร
  • มะเร็งต่อมลูกหมาก พบในกลุ่มผู้ชาย ปัจจัยเสี่ยงมาจากมีสมาชิกในครอบครัวเคยเป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก มักมีปัญหาเกี่ยวกับการปัสสาวะไม่ออก
  • มะเร็งไทรอยด์ ปัจจัยเสี่ยงเกิดจากได้รับการฉายรังสีบริเวณลำคอบ่อยครั้ง มีประวัติคนในครอบครัวเป็นมะเร็งไทรอยด์ อายุที่มากขึ้น สารพิษโลหะหนักที่ถูกสะสมเป็นะระยะเวลานาน

ใครบ้างที่ควรตรวจพันธุกรรมมะเร็ง

1. ผู้ที่มีประวัติมะเร็งในครอบครัว ดังต่อไปนี้

  • ญาติสายตรงเป็นมะเร็งเต้านม  1 คน ขึ้นไป มีประวัติเป็นมะเร็ง ดังต่อไปนี้
    • มะเร็งเต้านม ตอนอายุน้อยกว่าเท่ากับ 50 ปี
    • มะเร็งเต้านมในผู้ชาย
    • มะเร็งรังไข่
    • มะเร็งตับอ่อน
    • มะเร็งต่อมลูกหมากระยะแพร่กระจาย หรือชนิดที่มีความเสี่ยงสูง
  • ญาติสายตรงเป็นมะเร็งเต้านม  2 คน ขึ้นไป มีประวัติเป็นมะเร็งเต้านมหรือมะเร็งต่อมลูกหมาก
  • ญาติสายตรงเป็นมะเร็งเต้านม  3 คน ขึ้นไป มีประวัติเป็นมะเร็งเต้านม

2. ผู้ป่วยมะเร็ง ตรวจติดตามอาการเพื่อลดโอกาสการกลับเป็นซ้ำ เสริมแนวทางการรักษาที่เหมาะสมที่สุด

3. ผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรงดี และไม่มีประวัติครอบครัวเป็นโรคมะเร็ง คนที่มาตรวจยังไม่ได้เป็นมะเร็งและอาจจะไม่ได้เป็นมะเร็งก็ได้ แต่ต้องการรู้ว่าตนเองอาจจะเผอิญมีพันธุกรรมก่อมะเร็งซ่อนอยู่ในตัวหรือไม่

"พันธุกรรมและการใชัชีวิตของเราทำให้เราเสี่ยงที่จะเป็นมะเร็งชนิดอะไรนั้น ขึ้นอยู่กับว่าพันธุกรรมพื้นฐานที่ได้รับมรดกตกทอดมา เสี่ยงมะเร็งชนิดไหนเราก็ต้องระวังมากกว่าคนอื่นๆ ถึงแม้โอกาสจะมีแค่ 5 – 10% ก็ตาม ดังนั้นหากเรามีพฤติกรรมเสี่ยงเหล่านี้ที่แฝงอยู่ในชีวิตประจำวัน อาจจะเป็นตัวกระตุ้นให้พันธุกรรมของเราทำงานเร็วขึ้น เปอร์เซนต์ก่อโรคมะเร็งก็จะเพิ่มสูงขึ้น

เมื่อผลตรวจพันธุกรรมออกมาผิดปกติ จะต้องรับมืออย่างไร

  1. สิ่งสำคัญที่สุดคือการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด เพราะอาจจะมีความเสี่ยงต่อการเกิดก้อนเนื้องอกหรือมะเร็ง ควรทำการตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติมเพื่อระบุตำแหน่งกลุ่มเซลล์ที่ผิดปกติให้แน่ชัด และควรตรวจติดตามซ้ำอีกครั้งหลังการตรวจครั้งแรก 3 เดือน
  2. หลีกเลี่ยงการกระตุ้น ลดโอกาสการเป็นมะเร็ง ด้วยการปรับชีวิตประจำวันใส่ใจในการดูแลรักษาสุขภาพเพื่อส่งเสริมการทำของระบบภูมิคุ้มกัน โดยการทานอาหารตามหลักโภชนาการ ออกกำลังกายสม่ำเสมอ พักผ่อนอย่างเพียงพอ งดการบริโภคหรือสัมผัสสารก่อมะเร็ง เช่น การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ รับประทานเนื้อสัตว์แปรรูป นอกจากนี้อาจกระตุ้นหรือสร้างเสริมระบบภูมิคุ้มกันด้วยสารต้านอนุมูลอิสระหรือสมุนไพร

ดังนั้นการตรวจคัดกรองสำหรับโรคมะเร็งต่างๆ (Screening for Specific Cancer) เป็นวิธีที่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายและมีประโยชน์อย่างมาก การตรวจหาความผิดปกติจาก พันธุกรรมมะเร็ง สามารถตรวจได้ทุกคน ไม่จำเป็นต้องเป็นผู้ป่วยมะเร็งเท่านั้น เพื่อป้องกันและรู้เท่าทันโรคอนาคตได้ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก เราขอเป็นอีกหนึ่งทางเลือกช่วยลดความเจ็บป่วยจากโรคมะเร็ง และลดอัตราการเสียชีวิตที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง

โปรแกรมตรวจคัดกรองมะเร็ง เพื่อป้องกันและรู้เท่าทันโรคอนาคต

اختبار فحص السرطان المتقدم W9

برنامج فحص الأورام و51 نوع من السرطان

  • ไม่ต้องผ่าตัด วินิจฉัยได้ตั้งแต่ระยะ 0
  • คัดกรองได้ไวกว่าการตรวจสารบ่งชี้มะเร็ง (Tumor marker)
  • ตรวจหาก้อนมะเร็งได้ทุกชนิด ก้อนขนาดเล็กก็สามารถตรวจพบได้

W9 Care Series

โปรแกรมตรวจวิเคราะห์ความเสี่ยง 13 โรคร้าย และ 21 โรคที่พบบ่อยจากกรรมพันธุ์ (Genetics)

ตรวจง่าย เพียงแค่ใช้น้ำลาย สะดวกและรวดเร็ว

يشارك : 

مقالات ذات صلة

"الحرمان من النوم" له نظرية الشيخوخة. تقول إحدى النظريات أن الناس يتقدمون في السن بسبب انخفاض هرموناتهم. إجراء الإصلاحات لا يمكن مواكبة الانخفاض لكن الناس في هذه الأيام يتقدمون في السن بشكل أسرع. بعض الناس يبلغون من العمر 20 عامًا فقط وقد بدأت أجسادهم في التدهور بالفعل. ما الذي يسبب مرض الشريان التاجي؟ في الماضي، كنت أقابل أشخاصًا كبارًا في السن. ولكن في هذه الأيام نعود لنجد أن الشباب لقد بدأ الأمر يصبح أكثر شيوعًا بسبب الحرمان من النوم. نحن نحب أن نعتقد ذلك يمكنك فقط النوم والتعويض عنه لاحقًا. وخاصة في فترة المراهقة إنه عصر لا تزال فيه الهرمونات مستعرة. ويمكن للجسم أيضًا إنتاج الهرمونات لتعويض الأضرار قصيرة المدى الناجمة عن الحرمان من النوم. إن وجودنا هناك يجعلنا أقل عرضة للشعور بالآثار السلبية للحرمان من النوم. لأن الجسم لا يزال قادرًا على التكيف بشكل جيد. لكن إذا واصلت النوم في الوقت الخطأ لفترة طويلة حتى يصبح عادة، فلن يستغرق الأمر وقتاً طويلاً في الانتظار، وفي النهاية "سوف ينهار" جسمك قبل وقته. "الحرمان من النوم" أو عدم النوم في الوقت المناسب. بالإضافة إلى ذلك، يرتبط النوم أثناء الصيام أيضًا بالسرطان. انخفاض هرمون الميلاتونين نتيجة تشغيل الأضواء طوال الليل. له تأثير تسريع طفرة الجينات. يزيد من فرصة الإصابة بالعديد من السرطانات مثل سرطان الثدي، وسرطان المبيض، وسرطان القولون. وسرطان البروستاتا لدى الرجال الحرمان من النوم ليس مزحة على الإطلاق. هرمون النمو، بطل النوم المبكر. هرمون النمو هو هرمون أساسي لجميع الأجناس وجميع الأعمار في مرحلة الطفولة، وهو ضروري لنمو الأطفال، بما في ذلك نمو الجسم، والطول.

أنا أتناول فقط الوجبات الخفيفة المغلفة والكعك والخبز والآيس كريم، وأشعر ببعض الاهتمام بجسدي.

تعتبر الهرمونات مفتاح الجسم. لأنه عندما يختل توازن الجسم أو أحد الهرمونات في الجسم سوف يؤثر على كل نظام في أجسامنا. سواء كان ذلك الأرق