ฝุ่น PM2.5 ภัยเงียบที่คุกคามคนเมือง จากรายงานคุณภาพอากาศ ปี 2566 พบว่า ไทยมีมลพิษทางอากาศสูงเป็นอันดับที่ 36 ของโลก เฉลี่ยรายปีอยู่ที่ 23.3 มคก./ลบ.ม. ซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยรายปีที่องค์การอนามัยโลกกำหนดถึงเกือบ 5 เท่า โดยเฉพาะคนกรุงเทพฯ ได้รับผลกระทบเทียบเท่ากับการ “สูบบุหรี่ 1,224 มวน” ส่งผลให้มีผู้ป่วยทางเดินหายใจกว่า 11 ล้านคน/ปี นี่คือสถานการณ์ปัญหา ฝุ่น PM2.5 มะเร็งปอด ที่น่าเป็นห่วง
ฝุ่น PM2.5 กับความเสี่ยงมะเร็งปอดในคนไม่สูบบุหรี่
ปัจจุบัน คนเมืองมีความเสี่ยงเป็นมะเร็งปอดมากขึ้น โดยเฉพาะผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ก็มีความเสี่ยงสูงขึ้นเช่นกัน สาเหตุหลักมาจากฝุ่น PM2.5 ที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพทั้งในระยะสั้นและระยะยาว และจากข้อมูลล่าสุดขององค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่า ทั่วโลกพบผู้ป่วย มะเร็งปอด ที่ไม่เคยสูบบุหรี่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งอาจมีสาเหตุสำคัญมาจาก มลพิษทางอากาศ โดยเฉพาะ ฝุ่น PM2.5 ที่อาจเป็นปัจจัยกระตุ้นให้เกิด سرطان الرئة يستطيع
เมื่อก่อนเราเข้าใจว่า سرطان الرئة เป็นโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ หรือการสัมผัสควันบุหรี่มือสองเป็นเวลานาน แต่ในปัจจุบันงานวิจัยจากองค์การอนามัยโลก (WHO) พบว่า ผู้ที่ไม่เคยสูบบุหรี่ก็มีความเสี่ยงเป็น มะเร็งปอด มากขึ้นทั่วโลก
سرطان الرئة ที่พบในคนที่ไม่สูบบุหรี่ส่วนใหญ่จะเป็นชนิด อะดีโนคาร์ซิโนมา ซึ่งเป็นชนิดที่พบได้บ่อยที่สุด จากงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสาร Lancet Respiratory Medicine ในปี 2565 พบผู้ป่วยอะดีโนคาร์ซิโนมาประมาณ 200,000 รายทั่วโลก ซึ่งมีความเชื่อมโยงกับ “มลพิษทางอากาศ” โดยเฉพาะในประเทศจีน
จะเห็นได้ว่า ฝุ่น PM 2.5 ถือว่าเป็นสารก่อมะเร็งอันดับ 1 ที่มีความร้ายแรงเทียบเท่ากับการสูบบุหรี่ โดยเฉพาะในผู้หญิงที่มีโอกาสเป็น มะเร็งปอด ชนิดนี้ได้มากกว่าผู้ชาย และสำหรับคนที่สูบบุหรี่อยู่แล้ว เมื่อสูดดม بيإم 2.5 เข้าไป จะเพิ่มความเสี่ยงเป็นโรคมะเร็งปอดทวีคูณขึ้นเป็น 2 เท่า
ผลกระทบของ ฝุ่น PM2.5 มะเร็งปอด ที่มีต่อสุขภาพ
หลายปีที่ผ่านมาคนไทย โดยเฉพาะคนเมือง ได้รับผลกระทบจากฝุ่น PM2.5 กันอย่างหนัก แต่หลายคนอาจยังไม่ตระหนักถึงอันตรายที่แท้จริง เพราะฝุ่น PM2.5 ไม่ได้ส่งผลเสียต่อสุขภาพในทันที แต่แท้จริงแล้ว ร่างกายของเรากำลังค่อย ๆ สะสมสารโลหะหนักที่เป็นสารก่อมะเร็ง ทั้ง สารหนู แคดเมียม และโครเมียม ซึ่งสารเหล่านี้ล้วนเพิ่มความเสี่ยงต่อ سرطان الرئة และผลกระทบต่อสุขภาพในระยะยาว
เพราะทุกวันที่เราต้องออกจากบ้าน รู้หรือไม่ว่าร่างกายของเรากำลังค่อย ๆ สูด ฝุ่น PM 2.5 เข้าสู่ร่างกาย เพราะฝุ่น PM 2.5 มีขนาดเล็กมากจนสามารถแทรกซึมเข้าสู่ร่างกายได้ทางลมหายใจ โดยที่เราไม่รู้สึกตัว เมื่อฝุ่น PM2.5 เข้าไปในหลอดลมและปอด มันจะกระตุ้นให้เกิดการอักเสบในร่างกาย และอาจทำให้ DNA และ RNA กลายพันธุ์ได้ และในปัจจุบันเราสามารถตรวจ DNA เพื่อเช็กความเสี่ยงโรคที่เกิดจากพันธุกรรม ช่วยให้เราวางแผนเชิงป้องกันการเกิดโรคและการเจ็บป่วยในอนาคตได้
และหากร่างกายได้รับ ฝุ่น PM2.5 ในปริมาณมากและเป็นเวลานาน ร่างกายอาจไม่สามารถกำจัดได้หมด ก็จะทำให้เซลล์ในปอดถูกทำลายและกลายเป็นเซลล์มะเร็งได้ในที่สุด
ผลกระทบต่อสุขภาพของฝุ่น PM 2.5 ในระยะสั้น
- ระบบทางเดินหายใจ: ทำให้เกิดการอักเสบในทางเดินหายใจ หายใจลำบาก แสบจมูก ไอมีเสมหะ แน่นหน้าอก ถุงลมแฟบ สมรรถภาพปอดลดลง และอาการภูมิแพ้ หอบหืดกำเริบ
- الجهاز المناعي: ทำลายระบบภูมิคุ้มกัน ทำให้เกิดการติดเชื้อในปอดและทางเดินหายใจได้ง่าย เช่น ไข้หวัดใหญ่ หลอดลมอักเสบ หูอักเสบ
- พัฒนาการเด็ก: ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการของเด็ก ทำให้พัฒนาการล่าช้า
- ระบบสืบพันธุ์: อาจส่งผลต่อระบบสืบพันธุ์ ทำให้มีบุตรยาก
ผลกระทบต่อสุขภาพของฝุ่น PM 2.5 ในระยะยาว
- มะเร็งปอด: มลพิษนี้เป็นปัจจัยสำคัญที่เพิ่มความเสี่ยงในการเกิด سرطان الرئة โดยเฉพาะในผู้ที่ไม่สูบบุหรี่
- โรคหัวใจและหลอดเลือด: การสัมผัสกับมลพิษนี้ ทำให้เกิดการอักเสบของเส้นเลือด ซึ่งอาจนำไปสู่โรคหัวใจขาดเลือด โรคอัมพาตจากหลอดเลือดสมอง ความดันโลหิตสูง และเบาหวาน
- โรคทางเดินหายใจ: มลพิษนี้เป็นสาเหตุของโรคหลอดลมอุดกั้นเรื้อรัง ทำให้หายใจลำบาก
- โรคผิวหนังและตา: การสัมผัสกับมลพิษนี้ ทำให้เกิดโรคทางผิวหนัง เช่น ผื่นคัน ผิวหนังอักเสบ และโรคตาอักเสบ
- ผิวแก่ก่อนวัย: การสัมผัสกับมลพิษนี้ ทำให้ผิวมีจุดด่างดำ ริ้วรอย และดูแก่ก่อนวัย
วิธีป้องกันตัวเองจาก ฝุ่น PM2.5 سرطان الرئة
จากข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก (WHO) เป็นสัญญาณเตือนสำคัญว่า แม้ไม่สูบบุหรี่ ก็ยังเสี่ยงเป็น سرطان الرئة ได้จาก มลพิษทางอากาศ ซึ่งในปัจจุบัน มลพิษได้กลายเป็น “ภัยเงียบ” ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของคนทั่วโลก โดยเฉพาะในเมืองที่มีค่า ฝุ่น PM2.5 สูง
แม้ว่าปัญหา ฝุ่น PM2.5 ต้องใช้ความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในการจัดการและแก้ปัญหา แต่สิ่งที่เราสามารถป้องกันและทำได้เองคือ
- หลีกเลี่ยงการอยู่ในพื้นที่ที่มีมลพิษสูง เช่น บริเวณที่มีการจราจรหนาแน่น หรือพื้นที่ที่ค่า ฝุ่น PM2.5 เกินมาตรฐาน
- ใช้หน้ากาก N95 หรือหน้ากากที่มีตัวกรอง PM2.5 ทุกครั้งเมื่อต้องออกไปข้างนอก
- ใช้เครื่องฟอกอากาศ ที่มีประสิทธิภาพในการกรอง ฝุ่น PM2.5
- หมั่นทำความสะอาดบ้าน เพื่อลดการสะสมของฝุ่นละออง
- รับประทานอาหารที่มีสารต้านอนุมูลอิสระ เช่น ส้ม ฝรั่ง บรอกโคลี อัลมอนด์ เมล็ดทานตะวัน อะโวคาโด ปลาทะเล น้ำมันมะกอก เป็นต้น
ทางเลือกในการดูแลสุขภาพจาก ฝุ่น PM 2.5 มะเร็งปอด
จากข้อมูลขององค์การอนามัย ปี 2562 พบว่าคนไทยเสียชีวิตจาก มลพิษทางอากาศ ถึง 31,081 คน ซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดโรคต่างๆ เช่น โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และ سرطان الرئة
แม้ว่า سرطان الرئة จะเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 แต่เทคโนโลยีทางการแพทย์ในปัจจุบันมีความก้าวหน้าไปมาก ที่ W9 Wellness มีเทคโนโลยี EDIM ที่สามารถตรวจคัดกรองมะเร็งปอด ได้ตั้งแต่ระยะเริ่มต้น ทำให้เราสามารถตรวจพบความผิดปกติของเซลล์ได้ก่อนที่จะกลายเป็นเนื้อร้าย
นอกจากนี้ ในทางการแพทย์ด้านเวชศาสตร์ชะลอวัยและเวชศาสตร์ป้องกัน ยังมีวิธีการตรวจหาระดับสารพิษและโลหะหนักในร่างกาย เช่น การตรวจเลือดและการสแกนฝ่ามือด้วยเครื่อง أوليجوسكان เพื่อนำข้อมูลมาวางแผนการกำจัดสารพิษที่เหมาะสม โดยเฉพาะการทำวิตามินบำบัดทางหลอดเลือดดำ (IV Drip) สูตร العلاج عملية إزالة معدن ثقيل ที่กำลังเป็นที่นิยม ซึ่งเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการช่วยลดการอักเสบในร่างกายและป้องกันโรคเรื้อรังได้ในอนาคต
การดูแลสุขภาพด้วยการตรวจและกำจัดสารพิษจึงเป็นทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจสำหรับผู้ที่ต้องการมีสุขภาพที่ดีในระยะยาว
فروع الخدمة
- فرع مستشفى برارام 9
- رقم الهاتف: 092-9936922
- خط: @w9wellness
- ساعات الافتتاح والإغلاق: 08.00 – 17.00.
- فرع مركز بلونشيت
- رقم الهاتف: 0994969626
- خط: @wploenchit
- ساعات الافتتاح والإغلاق: 10:00 صباحًا - 7:00 مساءً
แหล่งอ้างอิง