يبحث
أغلق مربع البحث هذا.
สารเคมี

الحياة اليومية مع المواد الكيميائية القريبة

เคยแอบคิดกันบ้างไหมครับ? ว่าในแต่ละวันที่แสนจะธรรมดาของพวกเราหลายคนนั้นได้รับ สารเคมี อะไรเข้าสู่ร่างกายบ้าง?

ทุกสิ่งรอบตัวเราล้วนปนเปื้อนไปด้วย สารเคมี ต่างๆ แม้กระทั้งในบ้านที่เราใช้ชีวิตอยู่ในทุกวัน ทั้งของใช้ในชีวิตประจำวันต่างๆ เช่น ยาสีฟัน แปรงสีฟัน น้ำหอม สเปย์ โรลออนเสื้อผ้า เครื่องสำอาง อาหาร ควันรถ นับได้ว่า พวกเราคือประชากรโลกยุคแรก ที่ต้องเผชิญกับสารพิษ สารเคมี และมลภาวะมากมายขนาดนี้ในแต่ละวัน นี่ยังไม่นับ มลภาวะทางเสียง มลภาวะทางอารมณ์ (Toxic people) หรือ PM 2.5 ตัวร้าย ซึ่งพวกเราส่วนใหญ่น่าจะ “คุ้นเคย” กันดีอยู่แล้ว แต่พอรวมกันทุกตัว ก็อาจจะเป็นปัจจัยร่วมในหลายปัญหาเรื้อรังทางสุขภาพได้

สารเคมี ในสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemicals)

การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วนับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 ภาคอุสาหกรรมทั่วโลกทยอยเปิดสายการผลิตสารเคมีสังเคราะห์ ชนิดใหม่ขึ้นมาเพื่อตอบสนองความต้องการใช้เป็นจำนวน มากกว่า 140,000 ชนิด บางชนิดที่มีความต้องการสูงตามการเติบโตของประชากร ก็ยังมีแนวโน้มการผลิตเพิ่มขึ้นทุกปีต่อเนื่องมาเป็นเวลาหลายสิบปี ยกตัวอย่างเช่น พลาสติก ปุ๋ยเคมี และยาฆ่าแมลง ซึ่งเรารู้กันดีว่า สุดท้ายสสารที่ผลิตออกมามันก็ “ต้องมีที่อยู่” แล้วมันก็ไม่ได้คงอยู่แค่ปีเดียวด้วย หลายชนิดคงอยู่ได้นานหลายสิบปี ไม่ว่าจะเอาไปเททิ้ง หรือเก็บไว้ที่ไหนก็ตามแต่ สุดท้ายวันนึงมันก็หาทาง “วนมาหาเรา” ได้ไม่ว่าทางใดก็ทางหนึ่ง

สารปรอทปนเปื้อนในปลาทะเล (Mercury in Fish)

สารปรอทถือเป็นสารพิษโลหะหนักซึ่งใกล้ตัวเรามากที่สุด ทางศูนย์เวลเนส ที่หมอทำงานอยู่ ก็มีการตรวจคัดกรองระดับโลหะหนัก (Toxic heavy metals) โดยพบว่า คนสุขภาพดีทั่วไปที่เข้ามารับการตรวจมีระดับปริมาณสารปรอทในเลือดสูงกว่าค่าปกติเป็นจำนวนเกือบ 30%

การรับสารพิษระดับต่ำ ต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน (Chronic Low-level toxicity; No acceptable level)

สารอันตราย

มีงานวิจัยออกมาบอกว่าที่จริงแล้ว สารพิษ ไม่ว่าจะระดับไหนก็ไม่ปลอดภัยทั้งนั้นนะครับ แค่สูงกว่า 10mcg/dl ในคนท้องก็มีผลกับ IQ ของเด็ก หรือสูงกว่า 5 mcg/dl ในเด็กก็ไม่ปลอดภัยแล้ว หากร่างกายได้รับสารพิษหลายๆ ชนิดสะสมรวมกัน อาจก่อให้เกิดอนุมูลอิสระในร่างกาย ลดการสร้างสารต้านอนุมูลอิสระที่ร่างกายสร้างขึ้นตามธรรมชาติ ก่อให้เกิดการอักเสบของเซลล์ เพิ่มความเสี่ยงของโรคที่เกี่ยวกับระบบภูมิต้านทาน มีผลต่อระบบฮอร์โมน ท้ายที่สุดอาจนำไปสู่การเกิดโรคมะเร็งได้

และถึงแม้ร่างกายเราจะมีระบบการขับالسموم แต่ถ้าเทียบกับปริมาณที่เราได้รับเข้าไปก็ไม่สามารถขับสารพิษออกมาได้หมด เพราะประมาณ 10% มันเข้าไปซ่อนในเนื้อเยื่ออื่นได้ เช่น ตับ ไต และระบบประสาท และอวัยวะที่มันสามารถสะสมได้ปริมาณมากที่สุด ก็คือ กระดูก หากเข้าไปสะสมอยู่แล้ว มันจะยังคงอยู่กับเราไปถึง 20-30 ปีเลยทีเดียว

โดยของเสียทั้งหมดสามารถขับออกจากร่างกายได้ 6 ช่องทาง ได้แก่ ตับ ไต ปอด ลำไส้ใหญ่ ผิวหนัง และระบบน้ำเหลือง โดยอวัยวะหลักที่มีความสำคัญที่สุดคือ ตับ Liver Detoxification เป็นการบวนการที่ต้องการสารอาหารและวิตามินหลากหลายชนิดในปริมาณที่สูงมากน้อยต่างกัน ขึ้นกับปริมาณสารพิษที่เรารับเข้ามา ดังนั้นปริมาณสารพิษจึงเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทำให้คนเราต้องใช้วิตามินบางชนิดสูงกว่าระดับที่แนะนำต่อวันโดยทั่วไป

การที่ฉลากบอกว่า ปลอดภัยในปริมาณน้อย พึงระลึกเสมอว่า เค้าทดลองใช้สารแค่ชนิดเดียว แล้ววัดระดับที่ก่ออาการได้ เพราะในคนปกติรับเข้าก็ขับออกได้ทัน แต่ในชีวิตจริงเรารับสารพิษจากหลายแหล่ง และสะสมมากขึ้นในทุกๆ บางคนร่างกายขับของเสียได้ดีก็ดีไป แต่ในบางคนที่ร่างกายขับของเสียได้ไม่ดีก็ก่อให้เกิดการสะสม คั่งค้าง ทำให้เกิดโรคได้

สารเคมี

ที่พูดมาทั้งหมด หมอไม่ใช่จะให้ไปอยู่ป่าว อยู่ถ้ำ แค่อยากให้ตระหนักรู้ ถึงข้อจำกัดของร่างกายในการขับสารพิษ จะได้สามารถประเมินสารพิษรวม (Body burden) ในแต่ละวันเบื้องต้นได้ด้วยตัวเอง

เพียงเท่านี้ เราก็จะสุขภาพดี สดชื่นทั้งร่างกาย จิตใจแจ่มใส มีความสุขกับปัจจุบัน และมีคุณภาพชีวิตที่ดี อย่างยั่งยืนครับ

كتاب الصحة السعادة (أودوم) شعار
دكتور بيتشاك وونجويسيت (دكتور باي)

يشارك : 

مقالات ذات صلة

كيف ترتبط السمنة والسموم؟ "السمنة" مشكلة يواجهها الكثير من الناس. الناس يواجهون وهناك اتجاه مفاده أن "السمنة" تتزايد كل عام.

• نقص العديد من الفيتامينات. بما في ذلك نقص فيتامين د يرتبط بالاكتئاب • انخفاض مستويات فيتامين د. يمكن أن يؤثر على تنظيم المزاج، وصنع القرار، والسلوك. فيتامين د ليس علاجًا للاكتئاب. لكن تعويض فيتامين د عند الأشخاص الذين يعانون من انخفاض مستوياته قد يساعد في تنظيم العواطف ويمكن أن تزيد نوعية النوم، ويعتبر الاكتئاب مرضاً مزمناً. والتي تعتبر مشكلة اجتماعية أخرى والتي تزداد حدة كل عام سواء من حيث نوعية حياة المريض العبء الاجتماعي على من حولك وارتفاع معدلات الانتحار علاج الاكتئاب باستخدام الأدوية مع العلاج النفسي. هناك معدل نجاح يبلغ 76-85% (منظمة الصحة العالمية 2020)، لكن المشكلة تكمن في أن أقل من 25% من المرضى يتلقون العلاج. وهناك جزء آخر لا يريد تناول الدواء. بسبب الخوف من الإدمان على المخدرات أو ربما لأنهم لا يتحملون الآثار الجانبية [1] لأن الاكتئاب مرض مزمن. والتي يمكن أن تعود مرة أخرى وخاصة أولئك الذين لا يتلقون العلاج بشكل مستمر. وقد وجد أن هناك معدل تكرار أعلى. ولذلك بدأت الجهود للبحث عن العوامل. أو غيرها من طرق العلاج المركبة خاصة في مجال الحالة التغذوية أو العناصر الغذائية أو مكملات الفيتامينات [2]، بدأنا في إجراء المزيد والمزيد من الأبحاث. حيث وجدت علاقة بين نقص العديد من الفيتامينات أو العناصر الغذائية أو المعادن وبين الإصابة بالاكتئاب، مثل فيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3.

ربما سمع الكثير من الناس هذه الكلمة بماذا يساعد البروبيوتيك حتى تعتاد عليه وتتعرف على خصائصه الرائعة في الجهاز الهضمي؟ لكن قلة من الناس يعرفون أن البروبيوتيك الموجود في أمعائنا مفيد للأنظمة الأخرى.