يبحث
أغلق مربع البحث هذا.
ฝุ่นจิ๋ว PM2.5

الغبار الصغير PM2.5 وسرطان الرئة تلك المدينة لا ينبغي أن يغفل عنها

นับวันปัญหามลพิษทางอากาศส่งผลต่อสุขภาพของคนในยุคนี้ไม่น้อย โดยเฉพาะคนที่อาศัยอยู่ในเมืองที่ต้องเจอทั้งฝุ่น PM2.5 ควันรถจากท่อไอเสีย ไมโครพลาสติก ร่างกายของเรามีการสูดดมและสะสมเข้าไปเก็บไว้ทีละเล็กทีละน้อยโดยไม่รู้ตัว กว่าจะรู้ตัวร่างกายก็เริ่มมีอาการของโรคบางอย่างเกิดขึ้น เช่น ไอ มีเสมหะ ระคายเคืองจมูก แสบจมูก และที่เลวร้ายไปกว่านั้นที่หลายคนกลัวมากที่สุดก็คือ มะเร็งปอด ที่มาจาก ฝุ่นจิ๋ว หรือ PM2.5 ที่เรากำลังเผชิญกันอยู่ตอนนี้

สาเหตุที่ฝุ่น PM2.5 เพิ่มความเสี่ยงมะเร็งปอดได้

อย่างที่เรารู้กันว่า ฝุ่นจิ๋ว หรือ ฝุ่น PM2.5 (Particulate Matter) มีขนาดอนุภาคเล็กกว่า 2.5 ไมครอนเล็กกว่าเส้นผมมนุษย์ 20 กว่าเท่า มีขนาดเล็กพอที่เราจะหายใจเข้าไปสู่ปอด และซึมผ่านผนังปอดเข้าสู่กระแสเลือดของเราได้ ส่งผลให้ร่างกายเกิดการอักเสบ และถ้าหากร่างกายได้รับฝุ่น PM2.5 ในปริมาณที่มากและยาวนานเกินไป ก็อาจส่งผลให้เกิดโรคมะเร็งปอดได้แบบที่หลายคนกลัว

โดยข้อมูลจากวารสารการแพทย์ Oncology Letter – PMC5920433 ได้ระบุว่า PM2.5 มีผลทำให้เซลล์ในร่างกายอาจกลายพันธุ์หรือแบ่งตัวผิดปกติ และสร้างสภาวะที่เหมาะสมต่อการเกิดมะเร็ง

ปัญหามลพิษทางอากาศยังส่งผลกระทบต่อสุขภาพ โดยเฉพาะในกลุ่มคนที่มีโรคประจำตัวอยู่แล้ว ส่งผลให้โรคที่เป็นอยู่กำเริบขึ้นมาได้ และยังเป็นสาเหตุทำให้เกิดหัวใจวาย โรคหลอดเลือดในสมองตีบ โรคหอบหืดกำเริบ โดยเฉพาะเด็ก หญิงตั้งครรภ์ และผู้สูงอายุ ที่ต้องดูแลสุขภาพตัวเองเป็นพิเศษมากกว่าคนทั่วไป

และยังรวมถึงสารพิษอื่นๆ ที่นอกเหนือจากฝุ่น PM2.5 เมื่อร่างกายถูกสะสมเป็นเวลานานๆ ก็ส่งผลเสียต่อสุขภาพได้เช่นกัน ไม่ว่าจะเป็น

  • ควันบุหรี่ ควันจากท่อไอเสียรถยนต์ โรงงานอุสาหกรรม
  • สารปนเปื้อนในเครื่องสำอาง ยาย้อมผม สีทาเล็บ
  • สารปนเปื้อนในอาหาร ผักผลไม้ มาจากการใช้ยาเคมี หรือยาฆ่าแมลง
  • ภาชนะใส่อาหาร กล่องโฟม แกงถุง แก้วกาแฟ

ทุกปัจจัยเหล่านี้ล้วนส่งผลกระทบต่อร่างกายทั้งระยะสั้นและระยะยาว รวมถึงยังเพิ่มความเสี่ยงของโรคมะเร็งได้ในอนาคต

สัญญาณเตือนร่างกายมีสารพิษสะสมมากเกินไป

  • อ่อนเพลียเรื้อรัง ไม่สดชื่น
  • นอนไม่หลับ นอนหลับไม่สนิท
  • สมองล้า ไม่มีสมาธิ
  • หลงลืมง่าย ความจำแย่ลง
  • หอบหืด หายใจติดขัด

ตรวจเช็กสารพิษ ลดความเสี่ยงโรคมะเร็งปอดจากฝุ่น PM2.5

แม้เราจะใช้ชีวิตที่อยู่ท่ามกลางมลภาวะมากมาย ทั้งจากควันบุหรี่ ไอเสียรถยนต์ สารปนเปื้อนในเครื่องสำอาง ฝุ่น PM2.5 หรือสารโลหะหนักต่างๆ แต่ ในปัจจุบันเราสามารถตรวจเช็กระดับสารพิษ สารโลหะหนักในร่างกายได้ ทั้งจากการตรวจจากเลือดและการตรวจจากเนื้อเยื่อ เพื่อจะได้วางแผนป้องกันความเสี่ยงการเกิดโรคเรื้อรังในอนาคตได้ เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ภาวะสมองเสื่อม โรคภูมิต้านทานทำลายตัวเอง โรคภูมิแพ้ หรือแม้กระทั่งโรคมะเร็ง ที่เป็นสาเหตุการตายอันดับ 1 ของคนไทยอีกด้วย

การตรวจจากเลือด (Toxin Heavy Metal)

เป็นการตรวจหาสารตะกั่ว ปรอท สารหนู แคดเมียม อลูมิเนียม ที่สะสมอยู่ในร่างกาย โดยเฉพาะคนที่อาศัยอยู่ในเมืองมีความเสี่ยงที่จะได้รับสารโลหะหนักสะสมอยู่เยอะ ทั้งจากทางมลภาวะทางอากาศ ทางน้ำ หรืออาหารที่รับประทาน เมื่อร่างกายถูกสะสมมากเกินไปก็จะส่งผลต่อระบบฮอร์โมนในร่างกาย ทำให้ฮอร์โมนเกิดเสียสมดุล รวมถึงยังเป็นตัวการที่ทำให้หลอดเลือดอักเสบ ซึ่งอาจเป็นอันตรายกับสุขภาพเป็นอย่างมาก

ถึงแม้ร่างกายคนเราจะมีระบบการขจัดสารพิษอยู่ก็ตาม แต่ในบางคนอาจจะไม่รวดเร็วเพียงพอ คงจะดีกว่าหากเราได้รู้ว่าร่างกายเรามีสารพิษโลหะหนักสะสมอยู่หรือไม่ เพื่อป้องกันภัยเงียบจากสารพิษโลหะหนักที่อาจสร้างความเสียหายให้กับสุขภาพของเราได้ทันท่วงที

การตรวจจากเนื้อเยื่อ (Oligoscan)

เป็นการตรวจวัดระดับวิตามิน แร่ธาตุ และโลหะหนักในร่างกายระดับเซลล์ (ไม่ต้องเจาะเลือด) ทำให้เรารู้สมดุลแร่ธาตุในร่างกาย และประสิทธิภาพในการขับสารพิษของร่างกาย ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ร่างกายเราอ่อนเพลีย นอนไม่หลับ ไม่มีแรง ปวดหัวบ่อย การตรวจ أوليجوسكان จึงช่วยให้เราเสริมวิตามินและแร่ธาตุที่ร่างกายขาดได้ตรงจุดมากยิ่งขึ้น

วิธีขับสารพิษออกจากร่างกายด้วย คีเลชั่นบำบัด (Chelation Therapy)

ปกติแล้วร่างกายของเรามีกลไกในการขับสารพิษออกได้เองผ่านทางเหงื่อ ปัสสาวะ และอุจจาระ แต่ถ้าเราได้รับสารพิษสะสมมากเกินไป และถ้าเรายังเพิ่มการสะสมสารพิษในทุกๆ วัน ผ่านการใช้ชีวิตประจำวัน ก็ทำให้ร่างกายไม่สามารถกำจัดสารพิษออกมาได้หมด สารพิษเหล่านั้นก็จะถูกสะสมค้างอยู่ในร่ากายเรา จนอาจก่อให้เกิดโรคเรื้อรังต่างๆ ได้ในอนาคต

ในทางเวลเนสเองเราก็มีวิธีการขับสารพิษง่ายๆ ผ่านทางสายน้ำเกลือ ที่เราเรียกกันว่าการทำคีเลชั่นบำบัด (العلاج عملية إزالة معدن ثقيل) โดยจะมีคุณหมอผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ประเมินคนไข้แต่ละคนในการขับสารพิษแต่ละครั้ง รวมถึงการเพิ่มวิตามิน หรือกลุ่มสารแอนตี้ออกซิแดนท์เข้าไปด้วย เพื่อให้ระหว่างทำนั้นไม่รู้สึกเพลียเกินไป

ดังนั้น การหันมาดูแลและใส่ใจ ถึงประสิทธิภาพของระบบการขับสารพิษ (Chelation Therapy) ของร่างกายสำหรับคนที่อาศัยอยู่ในเมือง จึงเป็นสิ่งที่ควรตระหนัก และให้ความสำคัญเป็นอย่างมาก

“อย่าปล่อยให้สารพิษสะสมอยู่ในร่างกายจนเกิดเป็นอาการเรื้อรัง” ให้ W9 Wellness Center ดูแลระบบขับสารพิษของคุณนะคะ

يشارك : 

مقالات ذات صلة

كلما تقدمت في السن، كلما زاد إصابتك بالإمساك. يمكن أن يحدث الإمساك في أي عمر. ولكنها أكثر شيوعاً وشائعة عند كبار السن. في تايلاند، تم العثور على ما يصل إلى 20-25% من حالات الإمساك لدى كبار السن. سنجد أن هؤلاء الأشخاص يعانون من مشاكل معوية. سواء كان الأمر يتعلق بالهضم، أو الانتفاخ، أو الإمساك، ما هي أسباب الإمساك عند كبار السن؟ وكيف يمكننا المساعدة في حل مشكلة الإمساك عند كبار السن؟ المصدر: الشعب التايلاندي مصاب بالإمساك، قسم الخدمات الطبية. لماذا يصاب كبار السن بالإمساك؟ السبب وراء إصابة كبار السن بالإمساك ليس فقط أنهم لا يتناولون ما يكفي من الألياف. ولكن قد يكون سببه تغير نظام الجسم. يبدأ التمثيل الغذائي بالفشل. - الاختلالات الهرمونية، مثل انخفاض وظيفة الغدة الدرقية بما في ذلك توازن الكائنات الحية الدقيقة في الأمعاء الذي انخفض. لأنه اعتبارًا من سن الأربعين فما فوق، تبدأ نسبة البروبيوتيك في الأمعاء في الانخفاض. هذا يتسبب في عمل الكائنات الحية الدقيقة بشكل سيء. لذلك، يحدث الإمساك بسهولة أكبر عند كبار السن. وبمجرد أن نعرف ذلك، علينا أن ننظر إلى عادات نمط حياتنا. قد نبدأ في تعديل نظامنا الغذائي. ضبط التمرين يشرب الماء وتوازن الكائنات الحية الدقيقة في الأمعاء لأنه على الرغم من أننا نعتقد أننا نأكل جميع الأطعمة العضوية لكن لا تنسوا ذلك قد لا يكون جسمنا مناسبًا لهذا النوع من الطعام. كلما تقدمنا في السن، لم يعد الجسم والجهاز الهضمي كما كانا. تناول الطعام بنفس الطريقة قد لا يكون فعالا. لأن توازن الكائنات الحية الدقيقة في الجسم قد تغير. وإذا كانت جيدة يوصى بفحص التوازن الميكروبي. سوف تعرف ما هي الكائنات الحية الدقيقة التي يفتقر إليها جسمك. سيكون لدينا مكملات غذائية تتناسب مع أجسامنا وأعراضنا. لأفضل النتائج ما هي أسباب الإمساك عند كبار السن؟ تعتبر العناية بصحة الأمعاء من الأمور التي يجب أن تحظى بأهمية كبيرة لدى كبار السن. وخاصة في مسألة الغذاء. يمارس والحفاظ على توازن الكائنات الحية الدقيقة في الجسم وإذا تمكنا من معرفة نوع الكائنات الحية الدقيقة التي يفتقر إليها جسمنا […]

أنا أتناول فقط الوجبات الخفيفة المغلفة والكعك والخبز والآيس كريم، وأشعر ببعض الاهتمام بجسدي.

• نقص العديد من الفيتامينات. بما في ذلك نقص فيتامين د يرتبط بالاكتئاب • انخفاض مستويات فيتامين د. يمكن أن يؤثر على تنظيم المزاج، وصنع القرار، والسلوك. فيتامين د ليس علاجًا للاكتئاب. لكن تعويض فيتامين د عند الأشخاص الذين يعانون من انخفاض مستوياته قد يساعد في تنظيم العواطف ويمكن أن تزيد نوعية النوم، ويعتبر الاكتئاب مرضاً مزمناً. والتي تعتبر مشكلة اجتماعية أخرى والتي تزداد حدة كل عام سواء من حيث نوعية حياة المريض العبء الاجتماعي على من حولك وارتفاع معدلات الانتحار علاج الاكتئاب باستخدام الأدوية مع العلاج النفسي. هناك معدل نجاح يبلغ 76-85% (منظمة الصحة العالمية 2020)، لكن المشكلة تكمن في أن أقل من 25% من المرضى يتلقون العلاج. وهناك جزء آخر لا يريد تناول الدواء. بسبب الخوف من الإدمان على المخدرات أو ربما لأنهم لا يتحملون الآثار الجانبية [1] لأن الاكتئاب مرض مزمن. والتي يمكن أن تعود مرة أخرى وخاصة أولئك الذين لا يتلقون العلاج بشكل مستمر. وقد وجد أن هناك معدل تكرار أعلى. ولذلك بدأت الجهود للبحث عن العوامل. أو غيرها من طرق العلاج المركبة خاصة في مجال الحالة التغذوية أو العناصر الغذائية أو مكملات الفيتامينات [2]، بدأنا في إجراء المزيد والمزيد من الأبحاث. حيث وجدت علاقة بين نقص العديد من الفيتامينات أو العناصر الغذائية أو المعادن وبين الإصابة بالاكتئاب، مثل فيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3، وفيتامين ب3.