ค้นหา
ปิดช่องค้นหานี้

Telomere Length Test

ทำนายอายุขัยคุณด้วยศาสตร์ทางการแพทย์ ตอบโจทย์การดูแลสุขภาพแบบเฉพาะบุคคลลงลึกถึง DNA

Telomere Length Testing

วัดอายุร่างกายได้จากอะไร?

ปัจจุบันมีหลายวิธีที่ใช้วัดความยาวของเทโลเมียร์ได้ ซึ่งมีวิธีที่แตกต่างกันออกไป แต่มีเทคโนโลยีหนึ่งที่ทำให้สามารถทราบความยาวของเทโลเมียร์ได้ง่ายและสะดวกขึ้น คือ “Quantitative PCR (qPCR)” โดยใช้เวลาเพียง 10 วันเท่านั้น หากผลปรากฏว่าอยู่ในเกณฑ์ต่ำ ก็สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิต เพื่อป้องกันการหดสั้นเร็วกว่าปกติของเทโลเมียร์ได้ ไม่ว่าจะเป็นการเลือกรับประทานอาหาร งดสูบบุหรี่ ออกกำลังกายที่เหมาะสม และพักผ่อนให้เพียงพอ

Telomere ทำไมถึงมีผลต่ออายุสั้น-ยาว

การตรวจวัดความยาวของหางโครโมโซม (Telomere) เพื่อค้นหาอายุของร่างกายที่แท้จริง (Biological Age) และบอกภาวะเสื่อมของเซลล์(Degenerative status) ที่เกิดขึ้นก่อนวัย ทำให้ทราบอัตราความเสื่อมและความเสี่ยงที่อาจจะเกิดโรคต่างๆได้ เพื่อการวางแนวทางการป้องกันความเสื่อมได้อย่างตรงจุดมากขึ้น

ปัจจัยทีทําให้เทโลเมียร์หดสั้นลง : โดยปกติแล้วเทโลเมียร์จะหดสั้นลงตามกระบวนการแบ่งเซลลของร่างกายตามธรรมชาติอย่างหลีกเลียงไม่ได้ แตก็มีปัจจัยทีจะทําให้หดสั้นลงเร็วกว่าปกติ ดังนี้

 พันธุกรรม  อาหาร  สภาพแวดล้อม  ไลฟ์สไตล์

ขั้นตอนของการตรวจและการรักษา

สำหรับการตรวจติดตามผลควายาวของเทโลเมียร์นั้น ตรวจได้ทุกปี แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่มีการปรับเลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตจากเดิมโดยเฉพาะการใช้ชีวิตแบบมีแนวโน้มที่จะทำลายสุขภาพ ก็สามารถตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงได้ทุก 6 เดือน เพื่อจะได้รู้ตัวและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ทัน ส่วนหนึ่งความเป็นตัวคุณ ได้จากการถ่ายทอดผ่านพันธุกรรมและส่วนที่เหลือจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตภายใต้คำแนะนำจาก W9wellness

โปรแกรมแนะนำ

Personalized IV Therapy Ultimate Formula ช่วยกระตุ้นให้ระบบเผาผลาญทำงานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น พร้อมซ่อมแซมเซลล์ต่างๆ ทั่วทั้งร่างกาย

ราคา ฿9,000.00 บาท

จะเป็นอย่างไรหากอายุร่างกาย แก่เกินกว่าอายุจริง ตรวจเทโลเมียร์ (Telomere Length) กุญแจแห่งความลับของอายุที่ยืนยาว

ราคา ฿15,000.00 บาท

ปรึกษาปัญหาสุขภาพและรับสิทธิพิเศษสำหรับคุณได้ที่นี่

บทความที่เกี่ยวข้อง

ในปัจจุบันด้วยไวรัส มลภาวะและสารพิษที่เราต้องเจอ บวกกับไลฟ์สไตล์เร่งรีบ การรับประทานอาหารแช่แข็งพร้อมทานแทนอาหารปรุงใหม่ หรือไม่มีเวลาดูแลสุขภาพและออกกำลังกาย

ปัจจุบันโรคมะเร็งในคนไทยยังมีอัตราเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากทะเบียนสถิติมะเร็งประเทศไทย ปี 2566 โดยสถาบันมะเร็งแห่งชาติรายงานว่าผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่พุ่งสูงเฉลี่ยวันละ

error: Content is protected !!