ค้นหา
ปิดช่องค้นหานี้

ตรวจภูมิคุ้มกัน COVID-19 หลังฉีดวัคซีน

ในเวลานี้หลายคนคงเริ่มทยอยจองฉีดวัคซีนโควิด-19 กันเพิ่มมากขึ้น ไม่ว่าจะด้วยการฉีดวัคซีนซิโนแวก และแอสตราซิเนกา แต่หลายๆ คนก็ยังสงสัยว่าระดับภูมิคุ้มกันเพิ่มขึ้นจริงหรือไม่ รวมถึงเริ่มมีงานวิจัยหลายที่ออกมาเปิดเผยข้อมูลของการเพิ่มขึ้นของระดับภูมิต้านทานหลังฉีดวัคซีนว่าภูมิต้านทานขึ้นได้ดีมาก ทำให้หลายคนเริ่มอยากที่จะ ตรวจภูมิคุ้มกัน

เพื่อเพิ่มความมั่นใจขึ้นอีกระดับ จึงอยากแนะนำให้เพิ่มการตรวจวัดระดับภูมิคุ้มกันหลังฉีดวัคซีนโควิด-19 เพื่อ ตรวจวัดภูมิคุ้มกัน โดยรวม วัดการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวว่ามีประสิทธิภาพมากน้อยแค่ไหน โดยแนะนำว่าควรตรวจหลังจากฉีดวัคซีนครบโดส (2 เข็ม) 2 สัปดาห์ขึ้นไป

ผลการวิจัยเบื้องต้น ศูนย์วิจัยคลินิกคณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล

  • หลังฉีด AstraZeneca เข็มที่ 1 เป็นเวลา 3-4 สัปดาห์ พบว่า อาสาสมัครทุกคนมีภูมิคุ้มกันสูงเทียบเท่ากับผู้ที่หายป่วยจากโควิด-19
  • หลังฉีด Sinovac เข็มที่ 1 พบว่า 75% ของกลุ่ม มีภูมิคุ้มกันที่สูงเทียบเท่ากับผู้ที่หายป่วยจากโควิด-19
  • หลังฉีด Sinovac เข็มที่ 2 พบว่าทุกคน (100%) มีภูมิคุ้มกันในระดับสูงเทียบเท่ากับผู้ที่หายป่วยจากโควิด-19
  • แสดงให้เห็นว่าหลังฉีด AstraZeneca เข็มที่หนึ่งและ Sinovac เข็มที่สอง ภูมิคุ้มกันสูงเทียบเท่าผู้ป่วยที่หายป่วยจากโควิด-19 แปลผลได้ว่าวัคซีนทั้งสองชนิดน่าจะป้องกัน โรคโควิด-19 ได้ดี
  • 75% ของอาสาสมัครที่ได้วัคซีนจะมีอาการไม่พึงประสงค์ โดยมีอาการเพียงเล็กน้อย เช่น ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ อ่อนเพลีย มีไข้ ปวดศีรษะ อาการดังกล่าวสามารถหายได้เอง
  • กลุ่มที่ฉีด AstraZeneca พบอาการไม่พึงประสงค์ค่อนข้างมากกว่ากลุ่มที่ฉีด Sinovac โดยเฉพาะในคนอายุน้อย (<30ปี)
  • ขณะนี้กำลังตรวจผลของภูมิต่อสายพันธุ์ต่างๆ เช่น สายพันธุ์อังกฤษ แอฟริกา และอินเดีย ร่วมกับกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึ่งหากทราบผลจะแจ้งเป็นลำดับถัดไป

ตรวจภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสโคโรนา

CMIAs เป็นหนึ่งในวิธีการตรวจทางห้องปฏิบัติการทาง Serology เพื่อตรวจแอนติบอดี เกี่ยวกับเชื้อCOVID-19
ซึ่งมีความแม่นยำ และไว ต่อการทดสอบ ได้ผลรวดเร็ว

วิธีการตรวจวัดระดับภูมิคุ้มกัน

  • ตรวจด้วยเทคนิค CMIA (Chemiluminescent Microparticle Immuno Assay)
  • ใช้ระยะเวลารอผล ประมาณ 90 นาที
  • ควรตรวจหลังจากฉีดวัคซีนครบโดส ( 2 เข็ม ) 2 สัปดาห์ขึ้นไป
  • ค่าตรวจอยู่ที่ ราคา 1,760 บาท

อย่างไรก็ตาม การฉีดวัคซีนในปัจจุบัน ยังไม่ทราบว่าจะต้องใช้ระดับภูมิต้านทานเท่าใด จึงจะสามารถป้องกันการติดเชื้อ “แต่ที่รู้แน่ ๆ ก็คือว่า ถ้าเรามีภูมิต้านทาน เราก็จะสามารถลดความรุนแรงของโรคได้”

โปรแกรมแนะนำ

Immune Booster วิตามินสูตรเสริมสร้างภูมิต้านทาน เสริมเกราะป้องกันของร่างกายให้แข็งแรงจากภายในลงลึกถึงระดับเซลล์

เหมาะสำหรับ : ผู้ที่ต้องการเสริมภูมิคุ้มกันร่างกาย สุขภาพไม่แข็งแรง อ่อนเพลียบ่อย อักเสบง่าย

ราคา ฿5,000.00 บาท

โปรแกรมตรวจวิเคราะห์การทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาว NK Cell Activity เพื่อดูประสิทธิภาพการทำงาน ว่าสามารถฆ่าเชื้อไวรัส หรือเซลล์แปลกปลอม ที่เกิดขึ้นในร่างกายของเราได้มาน้อยแค่ไหน เพื่อจะได้วางแผนการป้องกันก่อนเกิดโรค

ราคา ฿180,000.00 บาท

เพิ่มความมั่นใจขึ้นอีกระดับ ตรวจวัดระดับภูมิคุ้มกัน COVID-19 หลังฉีดวัคซีน

ราคา ฿1,760.00 บาท

Daily Immune Booster Pack เซ็ตวิตามิน 4 แคปซูล ( 1 pack มี 30 ซอง) ที่รวบรวมวิตามินที่จำเป็นในแต่ละวัน เพื่อช่วยให้การเสริมภูมิต้านและบำรุงร่างกายให้แข็งแรงจากภายในทำได้อย่างต่อเนื่องในทุกวัน

ราคา ฿2,800.00 บาท

Daily Immune Supplement วิตามินสูตรเฉพาะ 1 กระปุก (มี 30  แคปซูล) ที่รวบรวมวิตามินที่มีผลการวิจัยรองรับล่าสุดในการช่วยเสริมภูมิต้านทานให้ร่างกายแข็งแรงจากภายในอย่างต่อเนื่องในทุกวัน

ราคา ฿990.00 บาท

ปรึกษาปัญหาสุขภาพและรับสิทธิพิเศษสำหรับคุณได้ที่นี่

บทความที่เกี่ยวข้อง

จะกินแต่ขนมห่อ ขนมเค้ก ขนมปัง ไอศกรีม ก็รู้สึกเกรงใจร่างกายนิดนึง

เราเข้าใจกันมาโดยตลอดว่า “พันธุกรรม” เป็นตัวกำหนดที่ทำให้เรามีรูปร่างหน้าตาคล้ายคลึงกับพ่อแม่ แต่ทำไมฝาแฝดแท้ๆ กลับมีนิสัยที่ต่างกัน

ยิ่งแก่ยิ่งท้องผูก ปัญหาท้องผูกสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกเพศทุกวัย แต่จะพบได้บ่อยและเยอะในผู้สูงอายุ ซึ่งในประเทศไทยพบ คนแก่ท้องผูก ถึง 20-25% เลยทีเดียว ซึ่งหากสังเกตุดูคนที่อายุเยอะๆ เราจะพบว่าพวกเขาเหล่านี้มีปัญหาเรื่องลำไส้ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการย่อยอาหาร ท้องอืด ท้องผูก แล้วสาเหตุท้องผูกในผู้สูงอายุมีอะไรบ้าง และเราจะช่วยแก้ปัญหาท้องผูกในผู้สูงอายุยังไงกันดี แหล่งที่มาคนไทยท้องผูก กรมการแพทย์ ทำไมผู้สูงอายุถึงท้องผูก สาเหตุที่ คนแก่ท้องผูก ไม่ใช่ว่ากินไฟเบอร์ไม่พอเพียงอย่างเดียว แต่อาจเกิดจากการที่ระบบร่างกายมันเปลี่ยน การเผาผลาญเริ่มไม่ดี สมดุลฮอร์โมนไม่สมดุล เช่น การทำงานของไทรอยด์ลดลง รวมถึงสมดุลของจุลินทรีย์ในลำไส้ที่ลดลง เพราะตั้งแต่อายุ 40+ ขึ้นไป โพรไบโอติกส์ ในลำไส้เริ่มลดลง ทำให้จุลินทรีย์ดังกล่าวทำงานได้ไม่ดี จึงเกิดอาการท้องผูกได้ง่ายขึ้นในผู้สูงอายุ เมื่อเรารู้อย่างนี้แล้วก็ต้องมองย้อนกลับไปถึงพฤติกรรมการใช้ชีวิต เราอาจจะเริ่มปรับอาหารการกิน ปรับการออกกำลังกาย การดื่มน้ำเปล่า และปรับสมดุลจุลินทรีย์ในลำไส้ เพราะถึงแม้เราจะคิดว่าเราทานอาหารที่เป็นออแกนิคทั้งหมด แต่อย่าลืมว่า ร่างกายของเราอาจจะไม่ได้เหมาะกับอาหารชนิดนั้นก็ได้ ยิ่งเราแก่ขึ้นร่างกายและระบบการย่อยอาหารก็ไม่เหมือนเดิมแล้ว การจะกินแบบเดิมก็อาจจะไม่ได้ผล เพราะสมดุลจุลินทรีย์ในร่างกายได้เปลี่ยนไปแล้ว และถ้าจะให้ดีก็แนะนำว่าควรที่จะตรวจสมดุลจุลินทรีย์ จะได้รู้ว่าร่างกายขาดจุลินทรีย์ตัวไหน เราก็จะได้เสริมให้ตรงกับร่างกายและอาการที่เราเป็น เพื่อผลลัพธ์ที่ดีที่สุด สาเหตุที่ผู้สูงอายุท้องผูกมีอะไรบ้าง การดูแลสุขภาพลำไส้ถือว่าเป็นเรื่องที่ควรให้ความสำคัญเป็นอย่างมากในผู้สูงอายุ  โดยเฉพาะในเรื่องของอาหารการกิน การออกำลังกาย และการรักษาสมดุลจุลินทรีย์ในไล้ให้มีความสมดุล และถ้าเราสามารถรู้ได้ว่าร่างกายของเราขาดจุลินทรีย์ชนิดไหน […]